語言學習泰語學習

泰國朋友說,疫情讓人們和前任的聯繫更加頻繁了,你同意嗎?

本文已影響 4.28K人 

如今,疫情仍在全球肆虐,泰國也正面臨着新一輪的疫情,國內停工,民衆紛紛居家隔離,開啓了無聊的生活。今天,泰語君就帶大家一起去看看,疫情下泰國朋友們發生了哪些重要的變化吧!


วันนี้เจอเรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับ โควิด-19 แต่ไม่ใช่เรื่องวัคซีนแต่อย่างใด แต่เป็นเรื่องความสัมพันธ์ เขาบอกว่า Covid-19 ทำให้คนกลับไปคุยกับแฟนเก่าเยอะขึ้น แถมยังทะเลาะกับแฟนมากขึ้นอีกด้วย
關於新冠病毒有一個極爲有趣的事情,但無關疫苗,而是新冠下的情侶關係。有人說,新冠病毒的出現,讓人們和前任的聯繫變得更爲頻繁了,和現任爭吵的次數也更加多了。


ปัจจัยหลักคือโซเชียลมีเดีย (Social Media)
主要原因是社交媒體 (Social Media)


ตั้งแต่โควิด-19 เกิดขึ้น ปฏิเสธไม่ได้จริงๆเลยว่าโซเชียลมีเดียคือสิ่งที่เราใช้เวลากับมันมากที่สุด แน่นอนว่ามันช่วยให้เราติดต่อสื่อสารได้ง่ายขึ้น มีผลวิจัยว่าคู่รักแม้จะต้องห่างกัน แต่โซเชียลมีเดียก็ทำให้มีความสุขมากขึ้นเช่นกัน
自新冠病毒出現,不得不承認,社交媒體佔用了我們最多的時間,毫無疑問它幫助我們交流變得更方便。有研究表明,即便一對異地戀的情侶,但是使用社交媒體保持聯繫,也會讓他們彼此之間更幸福。

อย่างไรก็ตามมีงานวิจัยจาก Kinsey ได้ทดลองกับผู้เข้าร่วมจำนวนมาก ในกลุ่มทดลอง 1 ใน 5 เผยว่า พวกเขากลับไปติดต่อกับแฟนเก่ามากขึ้น อาจจะมาจากความเป็นห่วง ความอยากรู้ และสาเหตุหนึ่งมาจากความรู้สึกหึงหวงในความสัมพันธ์
不管怎樣,在《金賽報告》中,通過對大量參與研究的人員調查發現,其中有五分之一的人都表示,疫情下,他們和前任的聯繫增多,這可能是出於對彼此的擔心、掛念以及嫉妒也有可能。

padding-bottom: 125%;">泰國朋友說,疫情讓人們和前任的聯繫更加頻繁了,你同意嗎?

(圖源 IG:lekteeradetch)


ความหึงหวงในความสัมพันธ์?
嫉妒關係?


ความหึงหวงนี้เกิดขึ้นเพราะมีการตอบสนองต่อความสัมพันธ์ที่มีบุคคลที่สามเข้ามา เรียกง่ายๆว่าความรู้สึกอิจฉาเมื่อจะสูญเสียอะไรบางอย่างไป หากประกอบกับงานวิจัยอื่นก็น่าสนใจทีเดียว ตัวผู้เขียนเคยอ่านว่าช่วง โควิด-19 มีผู้คนหย่าร้างกันมากขึ้น และก็มีความเชื่อมโยงกับโซเชียลมีเดียอย่าง Facebook ด้วย
嫉妒,可能是源於有第三者進入到兩人的關係中,簡而言之就是,當你覺得要失去什麼的時候,看見別人擁有,你就會心生羨意。其他研究也有很有趣的結果,疫情下,離婚的人更多了,這與像Facebook(臉書)這樣的社交媒體也有關。

Facebook อาจจะทำให้เราเห็นภาพแฟนเก่าหรือคนที่เราเคยคุยด้วย ทำให้เราเกิดอิจฉาขึ้นมาได้ นอกจากนี้อีกปัจจัยคือความคลุมเครือระหว่างความสัมพันธ์ หลายคนมักไม่ตั้งสถานะทำให้เกิดความคิดไปเอง เกิดความหึงหวง เกิดความหวัง เกิดได้หลายปัจจัยมากๆ สรุปแล้วมันเกิดการตีความไปเองจนทำให้เกิดความสงสัย และความสงสัยนี่แหละที่นำไปสู่การหาคำตอบ แล้วบางทีการหาคำตอบนั้นอาจทำให้เกิดเรื่องขึ้นได้
Facebook(臉書)可以讓我們看見前任或曾是發展對象的人的照片,從而一定程度上導致我們心生妒忌。除此以外,另一原因便是,戀愛關係的模糊性,許多人模糊不清的戀愛關係,就會導致想太多,從而產生嫉妒、希望以及其他影響關係的因素等。總而言之,戀愛中想太多就會出現懷疑,有了懷疑,就想找到答案,而在找答案的過程中,就可能出現回去找前任聊天,和現任吵架的情況。

adding-bottom: 66.72%;">泰國朋友說,疫情讓人們和前任的聯繫更加頻繁了,你同意嗎? 第2張

(圖源 IG:bbillkin)

นอกจากกลับไปส่องหรือคุยกับแฟนเก่าแล้ว ผลวิจัยยังชี้อีกว่าคู่รักอาจจะหึงหวงและส่องเช็กกันมากกว่าปกติ และมีแนวโน้มจะตามไปส่องในแพลตฟอร์มอื่นๆตามไปด้วย
除了回去更多的關注前任或與前任聯繫外,研究還指出,情侶間還可能產生比平常更多的吃醋、查探的情況,並且在其他社交平臺上很可能也有這種情況。

ปัญหานี้อาจนำไปสู่การทะเลาะที่รุนแรงได้ ทางที่ดีที่สุดคือการพูดคุยกันตรงๆ อย่าให้ความสงสัยมาทำให้ไม่ไว้ใจกัน และแน่นอนว่าควรใช้เวลาบนโซเชียลมีเดียให้น้อยลงบ้าง น่าจะดีที่สุด
這個問題可能就會導致情侶間發生嚴重的爭吵,最好的方式就是進行直接的交流,不要讓無謂的懷疑破壞了彼此的信任,當然最好也減少使用社交媒體的時間。


不知道大家是否在疫情期間打開朋友圈,也看到過前任的動態,心中泛起過波瀾呢?

聲明:本文由滬江泰語編譯整理,素材來自sanook,未經允許不得轉載。如有不妥,敬請指正。

猜你喜歡

熱點閱讀

最新文章